Socal History
  • หน้าหลัก
  • บุคคล
  • หน้าหลัก
  • บุคคล

Socal History

เว็บรวมประวัติต่างๆ แบบฉบับภาษาไทย

บุคคลประวัตศาสตร์ไทย

พระยาพิชัยดาบหัก

written by socalhistory 28/04/2018
พระยาพิชัยดาบหัก

พระยาพิชัยดาบหัก เดิมชื่อ จ้อย เกิดที่บ้าน ห้วยคา อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อปี พ.ศ. 2284 ในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา ศึกษาอยู่กับท่านพระครูวัดมหาธาตุหรือวัดใหญ่ เมืองพิชัย ภายหลัง จ้อยได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นทองดี หรือ ทองดีฟัน ขาว มีความสามารถทั้งทางเชิงมวยและเชิงดาบ ภายหลังพม่ายกทัพมาตีเมืองพิชัย 2 ครั้ง ในการรบครั้งที่ 2 พระยาพิชัยถือดาบสองมือ ออกต่อสู้จนดาบหักไปข้างหนึ่ง และรักษาเมืองไว้ได้ ดังนั้นจึงไดัรับสมญานามว่า ” พระยาพิชัยดาบหัก ”


วีรกรรมสำคัญ

พระยาพิชัยดาบหักชื่อเล่นว่าจ้อยเกิดที่อุตรดิตถ์ โตมาเป็นนักมวยตระเวณชกมวยตามงานวัดต่างๆ จนขึ้นชื่อไปถึงเมืองตาก และได้ชกมวยต่อหน้าเจ้าเมืองตาก(สิน) จนเจ้าเมืองประทับใจจึงให้ช่วยรับราชการให้ไปดูแลเมืองพิชัย ครั้นเมื่อพม่าบุกรุกมาท่านก็ต่อสู้รักษาแผ่นดินจนดาบหัก ปี 2310 เมื่อพม่ายกทัพมาล้อมกรุงศรีฯ พระยาตาก(สิน)ถูกเรียกตัวเข้ากรุง พระยาพิชัยก็ติดตามพระยาตาก(สิน)เข้าไปต้านพม่าในกรุงด้วย ท้ายที่สุดต้านพม่าไม่อยู่พระยาตาก(สิน)ก็ตัดสินใจตีฝ่าวงล้อมพม่าพร้อมด้วยทหารจำนวนหนึ่งออกไปทางชลบุรี หนึ่งในทหารที่ตีฝ่าวงล้อมออกไปก็มีพระยาพิชัยดาบหักไปด้วย พระยาพิชัยกลายเป็นทหารคู่ใจของพระยาตาก(สิน) เที่ยวตีหัวเมืองต่างๆ เพื่อรวบรวมไพร่พล ตั้งแต่ชลบุรี ตราด และก่อนจะทุบหม้อข้าวเข้าตีจันทบุรีที่เป็นเมืองใหญ่ คนทีเข้าไปพังประตูเมืองจันทบุรีคนแรกก็คือพระยาพิชัยดาบหักท่านนี้ แล้วยึดเมืองจันทบุรีได้ ก่อนจะย้อนกลับมาต่อตีกับพม่าที่อยุธยาและได้รับชัยชนะเหนือพม่าประกาศอิสรภาพให้แก่กรุงศรีอยุธยา


เมื่อครั้งพระยาพิชัยซึ่งปกครองเมืองพิชัยในสมัยกรุงธนบุรี ท่านได้สร้างเกียรติประวัติไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปี พ.ศ.2316 พม่ายกทัพมาตีเมืองพิชัย พระยาพิชัยได้ยกทัพไปสกัดทัพพม่าจนแตกพ่ายกลับไป การรบในครั้งนั้น ดาบคู่มือของพระยาพิชัยได้หักไปเล่มหนึ่ง แต่ก็ยังรบได้ชัยชนะต่อทัพพม่า ด้วยวีรกรรมดังกล่าวจึงได้สมญานามว่า “พระยาพิชัยดาบหัก”

0 comment
1
Facebook Twitter Google + Pinterest
socalhistory

next post
ศรีปราชญ์ สุดยอดกวีเอกสมัยพระนารายณ์มหาราช

You may also like

ครูและนักการศึกษาผู้ยิ่งใหญ่ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

14/06/2018

พระเจ้าเซจงมหาราช พระมหากษัตริย์ผู้ประดิษฐ์อักษรเกาหลีฮันกึล

15/08/2018

สตีฟ จอบส์ Steve jobs เจ้าพ่อ IT

16/05/2018

สตรีโลกไม่ลืม อินทิรา คานธี

15/07/2018

จักรพรรดิโรมันองค์สุดท้าย “โรมุลุส เอากุสตุลุส”

02/05/2018

สมเด็จพระเพทราชา พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 28 ของ อาณาจักรอยุธยา

31/05/2018

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ขุนหลวงในยุครุ่งเรือง ของอาณาจักรอยุธยา

31/05/2018

12 เรื่องน่ารู้ของดอกไม้เหล็กแห่งเมียนมา อย่าง ออง ซาน ซูจี

18/07/2018

เนลสัน แมนเดลา นักสู้และผู้ต่อต้านการเหยียดผิว

02/05/2018

อัลเฟรด โนเบล (Alfred Nobel) เจ้าของ

25/06/2018

Leave a Comment Cancel Reply

Recent Posts

  • พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ภาษาไทย เพื่อคนไทย
  • พระเจ้าเซจงมหาราช พระมหากษัตริย์ผู้ประดิษฐ์อักษรเกาหลีฮันกึล
  • 12 เรื่องน่ารู้ของดอกไม้เหล็กแห่งเมียนมา อย่าง ออง ซาน ซูจี
  • สตรีโลกไม่ลืม อินทิรา คานธี
  • ครูเพลงคนสำคัญ ไวพจน์ เพชรสุพรรณ

Recent Comments

    Archives

    • August 2018
    • July 2018
    • June 2018
    • May 2018
    • April 2018

    Categories

    • นักการเมือง
    • บุคคล
    • ประวัตศาสตร์ไทย
    • ยุโรป
    • ศิลปิน
    • เทคโนโลยี
    • แอฟริกา

    เกี่ยวกับเรา

    เกี่ยวกับเรา

    เว็บไซต์นี้เกิดขึ้นมาได้อย่างไร?

    เราเป็นกลุ่มคนที่ชอบติดตามประวัติต่างๆ มาเป็นเวลานาน แล้วจึงเกิดความคิดว่า "ทำไมเราไม่ทำเว็บไซต์ขึ้นมาเองเลยล่ะ!" เพื่อรวบรวมเรื่องราวประวัติต่างๆ ไว้ในเว็บไซต์เรา เพื่อเผยแพร่ให้กับผู้คนที่สนใจจะได้หาประวัติที่อยากรู้ได้ง่ายขึ้น

    ผู้สนับสนุน

    ร่วมสนุกลุ้นรางวัลต่างๆ มากมายได้ที่ FUN88 เว็บไซต์เกมออนไลน์ที่มีประวัติยาวนานกว่า 10 ปี

    ufabet1688

    ติดตามเราอย่างใกล้ชิด

    Subscribe my Newsletter for new blog posts, tips & new photos. Let's stay updated!

    Keep in touch

    Facebook Twitter Instagram Pinterest Tumblr Email

    w88

    ประวัติอัพเดทล่าสุด

    • พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ภาษาไทย เพื่อคนไทย

      15/08/2018
    • พระเจ้าเซจงมหาราช พระมหากษัตริย์ผู้ประดิษฐ์อักษรเกาหลีฮันกึล

      15/08/2018
    • 12 เรื่องน่ารู้ของดอกไม้เหล็กแห่งเมียนมา อย่าง ออง ซาน ซูจี

      18/07/2018
    • สตรีโลกไม่ลืม อินทิรา คานธี

      15/07/2018
    • ครูเพลงคนสำคัญ ไวพจน์ เพชรสุพรรณ

      05/07/2018

    Instagram Corner

    No images found!
    Try some other hashtag or username

    @2018 Memory of Juan Rodriguez Cabrillo Designed and Developed by www.socalhistory.org


    Back To Top